
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเลื่อยโซ่ยนต์
ประวัติความเป็นมาของเลื่อยโซ่ยนต์
เลื่อยโซ่ยนต์ประดิษฐ์ขึ้นครั้งแรกในประเทศเยอรมันในระหว่างพ.ศ. ๒๔๘๔ – ๒๔๘๘ โดย Mr. Stihl ซึ่งใช้เครื่องยนต์ขนาดเล็กเป็นต้นกําลัง ส่วนประกอบสําคัญนอกจากเครื่องยนต์แล้ว ยังมีใบเลื่ิอย หรือแผ่น บังคับโซ่ (Saw blade or Guid Bar) เป็นฐานรองรับโซ่เล่อืย(Chain Saw) ซึ่งมีฟันคล้ายเล่อืยธรรมดา ติดอยู่ กับโซ่ ตัวโซ่เลื่อยจะหมุนไปตามร่องแผ่นบังคับโซ่ด้วยกําลังฉุดของเครื่องยนต์อย่างรวดเร็ว ทําให้โซ่เลื่อย มีกําลังในการตัดไม้ที่มีประสทิธิภาพสูง ประเทศไทยได้นําเลื่อยโซ่ยนต์มาใช้ในการทําไม้ ประมาณปี พ.ศ. ๒๕๐๗ ซึ่งจากการเปรียบเทียบ ความเร็วในการตัดไม้กับเลื่อยธรรมดา ปรากฏว่าเลื่อยโซ่ยนต์ตัดไม้ขนาดเดียวกันได้เร็วกว่าเลื่อยธรรมดา ถึง ๑๗ เท่า และมีประสิทธิภาพสูงกว่าเป็นอัตราส่วน ๕:๑ นอกจากนั้นเลื่อยโซ่ยนต์สามารถตัดไม้ซึ่งมี ขนาดความโตเส้นผ่าศูนย์กลางเป็น ๒ เท่าของความยาวแผ่นบังคับโซ่ ปัจจุบันเลื่อยโซย่นต์ได้มีการพัฒนาให้เหมาะสมกับการใช้งานหลายด้าน เครื่องจักรกลต้นกําลังจึง มีทั้งเครื่องยนต์ มอเตอร์ไฟฟ้า ไฮดรอลิค และพัฒนารูปแบบ แผ่นบังคับโซ่และโซ่เลื่อยพร้อมฟันเลื่อยให้มี ความสะดวก เหมาะสมกับการใช้งานแต่ละประเภท เช่น การตัดทอน ล้มต้นไม ้ตัดแต่งลิดกิ่งไม ้ตัดแต่ง ทรงพุ่มไม้ ตัดเหล็ก โลหะ คอนกรีตและแก้ว รวมทั้งใช้ตกแตง่ประดิษฐ์งานฝีมือต่างๆ เช่น แกะสลักไม้ แกะสลักน้ําแข็ง รวมทั้งนํา เทคโนโลยีสมัยใหม่มาใช้ทําให้เลื่อยโซ่ยนต์มีน้ำหนักเบา มีระบบป้องกัน ความ ปลอดภัยในการใช้งานมากขึ้น
ประเภทและลักษณะของเลื่อยโซ่ยนต์ที่มีการใช้งานในปัจจุบัน
๑ แบ่งตามลักษณะการใช้งาน มี ๒ ประเภท คือ
(๑) เลื่อยโซ่ยนต์ที่มีการออกแบบตัวเครื่องให้มีสภาพหรือลักษณะเป็นเลื่อยโซ่ยนต์ที่มีต้นกำลัง ประกอบติดกับบาร์หรือแผ่นบังคับโซ่ ที่มีมือจับ ๒ มือเพื่อความสะดวกและปลอดภัยในการใช้งาน(รูปชุดที่ ๑)
(๒) เลื่อยโซ่ยนต์ที่มีการออกแบบให้มีแขนเพลาขับย่นืยาวติดบาร์โซ่ หรือแผ่นบังคับโซ่ไว้ที่ ปลายเพื่อใช้งานแตง่ลิดกิ่งต้นไม้ที่อยู่ระดับสูงโดยเฉพาะ ที่เรียกว่า Pole Pruner Chainsaw (รูปชุดที่ ๒ )
๒ แบ่งตามลักษณะเครื่องจักรกลต้นก าลัง มี ๓ ประเภท คือ
(๑) เลื่อยยนต์เบนซิน สูบเดียว ๒ จังหวะ ความจุกระบอกสูบตั้งแต่ ๒๐ – ๑๐๐ CC. มีกำลังแรงม้าตั้งแต่ ๑-๑๐ แรงม้า หรือ ๗๔๖ – ๗,๔๖๐ watts. เรียกว่า Gasoline Chainsaw
(๒) เลื่อยโซ่ยนต์ที่ใช้มอเตอร์ไฟฟ้าฉุดโซ่เลื่อย ที่มีกำลังแรงม้าตั้งแต่ ๑- ๕ แรงม้า หรือ ๗๔๖ – ๓,๗๓๐ watts1. เรียกวา Electric Chainsaw
(๓) เลื่อยโซ่ยนต์ที่ใช้ระบบไฮดรอลิคเป็นต้นกำลังในการขับเลื่อยโซ่ยนต์ เรียกว่า Hydraulic Chainsaw
ประเภทเคร่อืงจักรกลต้นกําลังเล่อืยโซย่นต์
เลื่อยโซ่ยนต์เครื่องจักรกลต้นกําลัง “เครื่องยนต์”
เลื่อยโซ่ยนต์เครื่องจักรกลต้นกําลัง “มอเตอร์ไฟฟ้า”
เลื่อยโซ่ยนต์ดัดแปลงเครื่องจักรกลต้นกําลัง “ไฟฟ้า(มอเตอร์)”
เลื่อยโซ่ยนต์เครื่องจักรกลต้นกําลัง “ระบบไฮดรอลิค”(Hydraulic Chainsaw)
เล่อืยโซย่นต์ประเภทแขนยาวสําหรับลดิตกแตง่กิ่ง(Pole pruner saw)
ส่วนประกอบส าคัญของเลื่อยโซ่ยนต์ (รูปชุดที่ ๓)
๑ เคร่อืงจักรกลต้นกําลังเป็นประเภทเคร่อืงยนต์ มอเตอร์ไฟฟ้า ระบบไฮดรอลคิ หรือเคร่อืง ดัดแปลงที่ออกแบบโครงเครื่องเล่อืย (Crankcase) ไว้ติดตั้งชุดเฟืองขับโซแ่ละแผ่นบังคับโซ่(บาร์)กับเพลา เคร่อืงจักรกลโดยเฉพาะ
๒ ชุดเฟืองขับโซเ่ล่อืยหรือสเตอรเ์ฟืองโซ่ เป็นฟันเฟืองประกบติดวงล้อหรือจานมูเลท่ี่ยึดติด กับแกนเพลาเครื่องจักรกล เพื่อฉุดโซเ่ล่อืยให้เดนิไปบนร่องขอบแผ่นบังคับโซ่ตามกําลังของเคร่อืงจักรกล
๓ บารโ์ซ ่หรือแผ่นบังคับโซ่(Guid Bar or Saw blade) เป็นแผ่นเหล็กมีร่องบนขอบบาร์โดยรอบ สําหรับให้โซ่เล่อืยวิ่งเคล่อืนที่ไปตามร่อง เมื่อถูกฉุดดว้ยกําลังเคร่อืงจักรกลผ่านฟันเฟืองโซ่เล่อืย ๓.๔ โซเ่ล่อืย (Chainsaw) เป็นฟันเล่อืยติดกับโซ่ ที่วิ่งไปตามรอ่งแผ่นบังคับโซ่ เมื่อถูกฉุดดว้ย กําลังเครื่องจักรกลที่ส่งผ่านชุดเฟืองขับโซเ่ล่อืย ทําหน้าที่ตัดวัตถุที่สัมผัส
๔. หลักการใช้งานเลื่อยโซ่ยนต์เบื้องต้น
๑ การเตรียมเลื่อยโซ่ยนต์ก่อนเริ่มใช้งาน
– ศึกษาคู่มือการใช้งานที่ติดมากับเครื่องให้ละเอียด
– ตรวจสอบความสมบูรณ์ของฟังก์ชันต่าง ๆ และความปลอดภัยในการทำงาน เช่น ระบบล็อคโซ่ การประกอบบาร์โซ่ที่ถูกต้อง ตรวจสอบความตึงของโซ่เลื่อยให้อยู่ในระดับที่เหมาะสม ฟันเลื่อย มีความคมพร้อมใช้งาน ได้เป็นอย่าง ดีมีการประกอบฝาครอบเฟืองขับโซ่และ ขันโซเลื่อย ไว้แนน่หนา ระบบล็อคโซ่ ระบบน้ำมันหล่อลื่นโซ่เลื่อย คันเรงน้ำมัน สวิตช์เปิด/ปิด อยู่ในสภาวะทำงานได้ตามปกติ
– ก่อนการใช้งานต้องประกอบเครื่องเลื่อยโซ่ยนต์ให้อยู่ในสภาพสมบูรณ์พร้อมใช้งาน
๒ การประกอบแผ่นบังคับโซ่และโซ่เลื่อย (ดูรูปชุดที่ ๔)
๓. วิธีการใช้เลื่อยโซย่นต์ทำงาน(รูปชุดที่ ๕)
เพื่อให้เลื่อยโซ่ยนต์มีความปลอดภัยต่อผู้ใช้งานและสามารถทำงานไดอ้ย่างมี ประสิทธิ ควรปฏิบัติดังนี้
-จับเครื่องเลื่อยโซ่ยนต์ด้วยสองมือ กำมือจับให้แนน่ และจับยึดเครื่องให้มั่นคง ไม่ให้แผ่นบังคับโซ่ และโซ่สัมผัสกับวัตถุใด และให้ถือเครื่องในแนวที่ไม่มีส่วนใดของร่างกายอยู่ภายใน วงการหมุนของเครื่องที่ ยื่นออกไป -อย่าทำงานบนพื้นผิวที่ไม่มั่นคงหรือมีสิ่งกีดขวางในพื้นที่ทำงาน ต้องแน่ใจว่าจุดยืนทำงานมีความ ปลอดภัย
คล้องโซ่เลื่อยบนแผน่บาร์และเฟืองโซ่
– ใช้งานเลื่อยโซ่ยนต์เฉพาะในเวลาที่มีแสงสว่างและทัศนวิสัยที่ดีพอ ระมัดระวังการล่นืไถล หรือ พื้นที่เปียกแฉะ -อย่าเลื่อยไม้ในระดับที่สูงกว่าไหล่ของผู้ใช้งาน หรือยืนอยู่บนบันได หรือปีนขึ้นไปบนต้นไม้เพื่อทำ การตัดด้วยเลื่อยโซ่ยนต์หรือทำงานโดยเครื่องเอียงมากเกินไป และอย่าให้เครื่องสัมผัสดนิในขณะที่เครื่อง ยังทำงานอยู่ -ก่อนที่จะใช้เครื่องเลื่อยตัดท่อนไม้ให้ใช้อุปกรณ์ค้ำยันที่ปลอดภัย อย่าใช้เท้าเหยียบที่ชิน้งานที่จะ ตัด และอย่าให้คนอื่นจับหรือเหยียบชิ้นงาน จับท่อนไม้ทรงกลมให้แน่นอย่าให้หมุน
Cr. http://www.harvesterthai.com/%E0%B8%84%E0%B8%A7%E0%B8%B2%E0%B8%A1%E0%B8%A3%E0%B8%B9%E0%B9%89%E0%B9%80%E0%B8%9A%E0%B8%B7%E0%B9%89%E0%B8%AD%E0%B8%87%E0%B8%95%E0%B9%89%E0%B8%99%E0%B9%80%E0%B8%81%E0%B8%B5%E0%B9%88%E0%B8%A2%E0%B8%A7/